Category Archives: ท่าเรือกรุงเทพ

ท่าเรือกรุงเทพ

ท่าเรือกรุงเทพ is a position for activity in post to be presented at the 1st  rank on Google page search by address the focus keyphrase name in category.

ท่าเรือกรุงเทพ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ไปยังการนำทางไปยังการค้นหา

ท่าเรือกรุงเทพ
Bangkok Harbour cranes.jpg
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้ง แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร
ประเภท ท่าเรือขนส่งสินค้า
การให้บริการ
เจ้าของ การท่าเรือแห่งประเทศไทย กระทรวงคมนาคม

ท่าเรือคลองเตย หรือ ท่าเรือกรุงเทพเป็นท่าเรือสำคัญของกรุงเทพมหานคร อยู่ในความดูแลของการท่าเรือแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่บริเวณริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ย่านคลองเตย ในอนาคตมีโครงการจะทำเป็น Docklands[ต้องการอ้างอิง] เพื่อพัฒนาท่าเรือกรุงเทพทั้งหมด ที่มีภูมิประเทศคล้ายกันที่ Docklands มีแม่น้ำเทมส์ไหลผ่าน และท่าเรือกรุงเทพมีแม่น้ำเจ้าพระยาผ่านด้วยรูปลักษณ์เหมือนมังกร โค้งเว้าเป็นท้องมังกรเช่นเดียวกัน ในอดีต Docklands คือท่าเรือขนส่งสินค้าเพียงอย่างเดียว

เหตุที่มาของคำว่าท่าเรือคลองเตยมาจากสถานที่ตั้งอยู่ในย่านคลองเตยซึ่งชิปปิ้งจะเรียกกันว่าท่าเรือคลองเตย และ ชื่อที่ต่างประเทศเรียกก็คือ BANGKOK PORT หรือ เรียกย่อๆว่า PAT (PORT AUTHORITY OF THAILAND)

ท่าเรือกรุงเทพ

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

พิกัดภูมิศาสตร์13.7037346°N 100.5754479°E

เขตคลองเตย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ไปยังการนำทางไปยังการค้นหา

บทความนี้เกี่ยวกับเขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร สำหรับคลอง ดูที่ คลองเตย
เขตคลองเตย
แผนที่กรุงเทพมหานคร เน้นเขตคลองเตย
คำขวัญ: ท่าเรือสินค้า ท้องฟ้าจำลอง อุทยาน
น่ามอง ชุมชนหลากหลาย ศูนย์ประชุม
เกริกไกร ตลาดใหญ่คลองเตย
พิกัดภูมิศาสตร์: 13°42′29″N 100°35′2″E
อักษรไทย เขตคลองเตย
อักษรโรมัน Khet Khlong Toei
พื้นที่
 • ทั้งหมด 13.000 ตร.กม. (5.019 ตร.ไมล์)
ประชากร (2561)
 • ทั้งหมด 101,543[1]
 • ความหนาแน่น 7,811.00 คน/ตร.กม. (20,230.4 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 10110, 10260 (แขวงพระโขนง เฉพาะซอยสุขุมวิท 48/1-50 และถนนทางรถไฟเก่าสายปากน้ำ เลขคี่ 6021-6689, เลขคู่ 1928-2422)
รหัสภูมิศาสตร์ 1033
ที่อยู่
สำนักงาน
เลขที่ 599 สามแยกกล้วยน้ำไท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
เว็บไซต์ http://www.bangkok.go.th/khlongtoei
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

ตลาดคลองเตย

เขตคลองเตย เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร ถือเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนววงแหวนอุตสาหกรรม

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

เขตคลองเตยตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ทางตอนกลางค่อนไปทางตะวันตกของฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้

ประวัติ[แก้]

ย้อนไปถึงประมาณพุทธศตวรรษที่ 14 (คริสต์ศตวรรษที่ 9) บริเวณเขตคลองเตยเคยเป็นที่ตั้งของ เมืองปากน้ำพระประแดง เป็นเมืองหน้าด่านปากน้ำเจ้าพระยา ก่อนที่จะขึ้นไปสู่เมืองอื่น ๆ (อยู่ตรงข้ามกับเมือง (อำเภอ) พระประแดงในปัจจุบัน ซึ่งสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1)

เมื่อมีการจัดการปกครองส่วนภูมิภาคในสมัยรัชกาลที่ 5 บริเวณนี้จึงอยู่ในเขตการปกครองของ เมือง (จังหวัด) พระประแดง โดยมีฐานะเป็น ตำบลคลองเตย อำเภอพระโขนง ต่อมาอำเภอพระโขนงได้ย้ายมาขึ้นกับจังหวัดพระนคร และได้มีการยุบรวมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนคร เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้เปลี่ยนการเรียกหน่วยการปกครองใหม่ด้วย ตำบลคลองเตยจึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงคลองเตย เป็นพื้นที่การปกครองของสำนักงานเขตพระโขนง

ภายหลังเขตพระโขนงมีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้น พื้นที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต ในวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2532 กรุงเทพมหานครจึงได้จัดตั้งสำนักงานเขตพระโขนง สาขา 1 (คลองเตย) ขึ้นดูแลแขวงคลองเตย แขวงคลองตัน และแขวงพระโขนง และในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 กระทรวงมหาดไทยได้แบ่งพื้นที่ 3 แขวงดังกล่าวตั้งเป็น เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร

จนกระทั่งในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2538 กรุงเทพมหานครได้จัดตั้งแขวงคลองเตยเหนือ แขวงคลองตันเหนือ และแขวงพระโขนงเหนือ โดยใช้ถนนสุขุมวิทเป็นเส้นแบ่งเขตออกจากแขวงเดิม และให้สำนักงานเขตคลองเตย สาขา 1 ดูแลพื้นที่แขวงใหม่ดังกล่าวซึ่งต่อมาได้แยกออกไปเป็นเขตวัฒนาในปี พ.ศ. 2540

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

เขตคลองเตยมีหน่วยการปกครองย่อย 3 แขวง ได้แก่

อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2561)
จำนวนบ้าน
(ธันวาคม 2561)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2561)
คลองเตย Khlong Toei
7.249
67,346
33,423
9,290.38
คลองตัน Khlong Tan
1.901
11,101
14,323
5,839.55
พระโขนง Phra Khanong
3.850
23,096
24,434
5,998.96
ทั้งหมด
13.000
101,543
72,180
7,811.00

ประชากร[แก้]

สถานที่สำคัญ[แก้]

ท่าเรือกรุงเทพ

การคมนาคม[แก้]

ทางบก[แก้]

ทางน้ำ[แก้]

ระบบขนส่งมวลชน[แก้]

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

เศรษฐกิจชุมชน[แก้]

ที่ชุมชนเกาะกลางน้ำ เขตคลองเตย ผู้ที่อาศัยอยู่ยังชุมชนนี้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ด้วยการปลูกผักและเพาะเห็ดหลายชนิด เช่น เห็ดนางฟ้าเห็ดนางฟ้าภูฏานเห็ดเป๋าฮื้อเห็ดหูหนู[3]

Call Now Button