Category Archives: วัดนางนองวรวิหาร
วัดนางนองวรวิหาร
วัดนางนองวรวิหาร is the position for activity in post to be presented at the 1st rank on Google page search by address the focus keyword name in category.
ดนางนองวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 36 ถนนวุฒากาศ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร
ประวัติ[แก้]
วัดนางนองวรวิหาร เป็นวัดเก่าแก่แห่งนี้ไม่ปรากฏหลักฐานของการสร้าง แต่สันนิษฐานว่ามีมาตั้งแต่กรุงศรีอยุธยา ประมาณสมัยพระเจ้าเสือ (ขุนหลวงสรศักดิ์) [1] ราวปี (พ.ศ. 2245 – 2252)
ในสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2375 ได้โปรดให้ทำเป็นงานใหญ่ รื้อของเก่า และปฏิสังขรณ์ใหม่ทั้งพระอารามดังปรากฏงานศิลปกรรมแบบ พระราชนิยมในพระองค์ที่พระอุโบสถและพระวิหารคู่ และเพราะในแขวงบางนางนอง เดิมเป็นนิวาสถานของสมเด็จพระศรีสุลาลัย หรือเจ้าจอมมารดาเรียม พระราชชนนี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งต่อมาตระกูลของสมเด็จพระศรีสุลาลัย ย้ายข้ามฟากไปอยู่บริเวณวัดหนัง จึงทรงบูรณะวัดนางนอง เนื่องในสมเด็จพระราชมารดาที่ว่าศิลปแบบพระราชนิยมในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นศิลปกรรมที่เลียนแบบศิลปะจีน การบูรณปฏิสังขรณ์ใช้เวลาหลายปีจึงแล้วเสร็จได้สถาปนาเป็นพระอารามหลวง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ประกอบพิธีผูก พัทธสีมาพระอุโบสถเมื่อ พ.ศ. 2384[2]
ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม[แก้]
มีลักษณะศิลปะ และสถาปัตยกรรมไทยที่สร้างสรรค์ผสมผสานศิลปะจีน อาคารภายในวัดได้แก่ พระอุโบสถ พระวิหาร งานศิลปกรรมจะอยู่ที่ส่วนหลังคา หน้าจั่วหรือหน้าบัน มีรูปแบบเป็นงานก่ออิฐถือปูนทำเลียนแบบจีน ที่ทนทานต่อสภาพภูมิอากาศ ที่เดิมมักใช้งานเครื่องไม้ และถึงแม้จะสร้างขึ้นเลียนแบบจีนก็ตาม แต่ก็ยังคงลักษณะความเป็นไทยไว้เช่น การซ้อนหลังคาในส่วนที่เด่นของอาคาร และมุงกระเบื้องตามลักษณะของไทย[2]
เจ้าอาวาส[แก้]
- พระภาวนาโกศลเถระ นามเดิม รอด (พ.ศ. 2397 – 2410)
- พระวิสุทธิโสภณ นามเดิม โล้ (พ.ศ.2410 – 2433)
- พระสีลาจารพิพัฒน์ (พ.ศ.2433-2457)
- พระครูสุนทราวาสกิจ (พ.ศ.2457-2486)
- พระวุฒิญาณมุนี นามเดิม เลื่อน ฉายา ญาณวุฑโฒ (พ.ศ.2486 – 2532)
- พระเทพสิทธิเวที นามเดิม สำราญ ฉายา รตนธมฺโม (พ.ศ. 2532 – 2558)
- พระสิรินันทมุนี นามเดิม อั้น ฉายา ปญฺญาสิริ (พ.ศ. 2558-ปัจจุบัน)
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
ตั้งอยู่บริเวณทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาหรือฝั่งธนบุรี มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตภาษีเจริญและเขตธนบุรี มีลำรางสาธารณะ คลองบางประทุน คลองตาฉ่ำ คลองรางบัว คลองสวนหลวงใต้ คลองบางหว้า คลองวัดโคนอน (คลองวัดอ่างแก้ว) คลองตาม่วง คลองวัดนางชี (คลองวัดเพลง) คลองด่าน คลองวัดใหม่ยายนุ้ย 1 (คลองศาลเจ้าต้นโพธิ์) และคลองแยกบางสะแก 13 เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตธนบุรีและเขตราษฎร์บูรณะ มีคลองบางสะแก คลองดาวคะนอง และถนนสุขสวัสดิ์เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับเขตราษฎร์บูรณะ เขตทุ่งครุ และเขตบางขุนเทียน มีคลองบางปะแก้ว คลองยายจำปี คลองกอไผ่ขวด ลำรางสาธารณะ คลองบางมด คลองตาสุก และคลองบัว (คลองตาเปล่ง) เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตบางขุนเทียน เขตบางบอน และเขตภาษีเจริญ มีคลองวัดกก คลองสนามชัย คลองวัดสิงห์ และคลองบางระแนะเป็นเส้นแบ่งเขต
บริษัท เอ็มเค เมทัลชีท โปรดักส์ จำกัด
MK Metalsheet Products Company Limited
เอ็มเค เมทัลชีท ผลิต-ขาย แผ่นหลังคาเมทัลชีท ราคาผู้รับเหมา บริการรวดเร็ว แผ่นเดียว เราก็ขาย โทรถามราคา เรายินดีตอบ มีช่างรับเหมาทำหลังคาแนะนำให้ลูกค้า
เอ็มเค เมทัลชีท ขาย แผ่นใส-สีขาวขุ่น แผ่นเดียว เราก็ขาย โทรถามราคา เรายินดีตอบ มีช่างรับเหมาทำหลังคาบริการรวดเร็ว ฉับไว ไว้แนะนำให้ลูกค้า
แขวงบางขุนเทียน เป็นท้องที่การปกครองแห่งหนึ่งของเขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นที่อยู่อาศัย
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
แขวงบางขุนเทียนมีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังนี้[3]
- ทิศเหนือ ติตต่อกับแขวงบางหว้า (เขตภาษีเจริญ) และแขวงบางค้อ (เขตจอมทอง) มีลำรางสาธารณะ คลองบางประทุน คลองตาฉ่ำ คลองรางบัว คลองสวนหลวงใต้ และคลองบางหว้าเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงจอมทอง (เขตจอมทอง) มีคลองด่านและคลองสนามชัยเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงจอมทอง (เขตจอมทอง) แขวงแสมดำ (เขตบางขุนเทียน) และแขวงคลองบางบอน (เขตบางบอน) มีคลองสนามชัยและคลองวัดสิงห์เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงคลองบางพราน (เขตบางบอน) และแขวงบางหว้า (เขตภาษีเจริญ) มีคลองวัดสิงห์และคลองบางระแนะเป็นเส้นแบ่งเขต
การคมนาคม[แก้]
ถนนสายหลักในพื้นที่แขวงบางขุนเทียน ได้แก่
ถนนสายรองในพื้นที่แขวงบางขุนเทียน ได้แก่