Category Archives: ถนนกิ่งแก้ว

ถนนกิ่งแก้ว

ถนนกิ่งแก้ว is the position for activity in post to be presented at the 1st rank on Google page search  by address the focus keyword name in category.

เขตลาดกระบัง Lat Krabang District is one of 50 districts of กรุงเทพมหานคร Bangkok, Thailand.

ถนนกิ่งแก้ว[แก้]

ถนนกิ่งแก้ว (อักษรโรมันThanon King Kaeo) เป็นถนนสายหลักที่เชื่อมระหว่างถนนลาดกระบัง ถนนเทพรัตน และถนนเทพารักษ์เข้าด้วยกัน ถนนกิ่งแก้วแยกมาจากถนนลาดกระบังในท้องที่แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร จากนั้นมุ่งลงทางทิศใต้เข้าสู่ท้องที่ตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ไปบรรจบกับถนนเทพารักษ์ที่ตำบลบางพลีใหญ่ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ตรงข้ามกับถนนตำหรุ–บางพลี ระยะทางประมาณ 14 กิโลเมตร ถนนกิ่งแก้วนั้นมีสะพานลอยคนข้ามทั้งหมด 11 สะพาน แต่ละสะพานนั้นจะมีการตั้งตัวละครในวรรณคดีมากมายบริเวณเกาะกลางอาทิเช่น ทศกัณฐ์ ไมยราพ แต่เดิมถนนแต่เดิมถนนเส้นนี้มีเพียง 2 ช่องทางจราจรตลอดเส้นทาง ซึ่งปัจจุบันตั้งแต่ลาดกระบังไปจนถึงแยกถนนวัดหนามแดงนั้นเป็นถนนขนาด 4–8 ช่องทางจราจร ยกเว้นบริเวณสะพานข้ามคลองสำโรง ถึงแยกถนนเทพารักษ์ (คลองขุด) จะมีแค่เพียง 6 ช่องทางจราจร และจากสะพานข้ามคลองสำโรงถึงถนนเทพารักษ์จะมีขนาด 6 ช่องทางจราจรอีกครั้ง ซึ่งบริเวณดังกล่าวมีสะพานลอยข้ามถนนวัดหนามแดง คลองสำโรง และถนนเทพารักษ์ (แยกคลองขุด) เพิ่มเติม ซึ่งในส่วนของสะพานลอยข้ามแยกคลองขุดนั้น กรมทางหลวงได้ดำเนินการก่อสร้างส่วนที่เหลือ ช่วงแยกถนนวัดหนามแดง–คลองสำโรง–ถนนเทพารักษ์ เชื่อมต่อถนนตำหรุ–บางพลี จนแล้วเสร็จและเปิดให้สัญจรเมื่อเดือนมิถุนายน 2560 โดยตลอดระยะถนนกิ่งแก้วมีถนนที่สำคัญตัดผ่าน เช่น

บริษัท เอ็มเค เมทัลชีท โปรดักส์ จำกัด

MK Metalsheet Products Company Limited

เขตลาดกระบัง เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของกรุงเทพมหานคร (รองจากเขตหนองจอก) สภาพโดยทั่วไปเป็นท้องทุ่ง มีแหล่งชุมชนหนาแน่นทางทิศใต้และมีเขตนิคมอุตสาหกรรมทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

เขตลาดกระบังตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของกรุงเทพมหานคร มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

ประวัติศาสตร์[แก้]

เดิมเขตลาดกระบังเป็นพื้นที่การปกครองของเมืองมีนบุรีซึ่งเป็นเมือง (จังหวัด) หนึ่งในมณฑลกรุงเทพ มีชื่อเรียกว่า อำเภอแสนแสบ ต่อมาในปี พ.ศ. 2470 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอลาดกระบัง เพื่อให้ตรงกับชื่อตำบลที่ตั้งที่ว่าการอำเภอ[3] และในปี พ.ศ. 2474 จังหวัดมีนบุรีถูกยุบมารวมกับจังหวัดพระนคร[4] อำเภอลาดกระบังจึงย้ายมาขึ้นกับจังหวัดพระนครด้วย

ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2481 กระทรวงมหาดไทยได้ยุบอำเภอลาดกระบังลงเป็น กิ่งอำเภอลาดกระบัง ขึ้นกับอำเภอมีนบุรี เนื่องจากในขณะนั้นมีปริมาณงานไม่มากนักและมีจำนวนประชากรน้อย[5] จนกระทั่งในวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2500 จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น อำเภอลาดกระบัง อีกครั้ง[6] โดยได้โอนตำบลแสนแสบไปขึ้นกับอำเภอมีนบุรี และแบ่งพื้นที่บางส่วนของตำบลทับยาว มาจัดตั้งเป็นตำบลขุมทองในปี พ.ศ. 2504[7]

ต่อมามีประกาศคณะปฏิวัติรวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและเปลี่ยนรูปแบบเป็นกรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2515 อำเภอลาดกระบังจึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตลาดกระบัง ตั้งแต่นั้น

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

เขตลาดกระบังแบ่งหน่วยการปกครองย่อยออกเป็น 6 แขวง ได้แก่

อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(กันยายน 2562)
จำนวนบ้าน
(กันยายน 2562)
ความหนาแน่นประชากร
(กันยายน 2562)
ลาดกระบัง Lat Krabang
10.823
30,167
18,786
2,787.30
คลองสองต้นนุ่น Khlong Song Ton Nun
14.297
67,834
32,678
4,744.63
คลองสามประเวศ Khlong Sam Prawet
17.458
15,810
11,253
905.60
ลำปลาทิว Lam Pla Thio
33.752
24,683
12,856
731.305
ทับยาว Thap Yao
25.834
30,239
17,785
1,170.51
ขุมทอง Khum Thong
21.695
8,161
2,804
376.17
ทั้งหมด
123.859
176,894
96,162
1,428.19

ประชากร[แก้]

การคมนาคม[แก้]

ทางสายหลักในพื้นที่เขตลาดกระบัง ได้แก่

ส่วนทางสายรองและทางลัด ได้แก่

ขนส่งมวลชนทางราง

สถานที่สำคัญ[แก้]

สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ลาดกระบัง

อ้างอิง[แก้]

  1.  สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. “สถิติประชากรและบ้าน – จำนวนประชากรแยกรายอายุ.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php. สืบค้น 3 มกราคม 2562.
  2.  ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร. สถิติจำนวนประชากรและบ้านในกรุงเทพมหานคร จำแนกตามรายแขวงและเขต ณ เดือน ธันวาคม 2550. สืบค้น 24 ตุลาคม 2551.
  3.  “ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนชื่ออำเภอแสนแสบเปนอำเภอลาดกระบัง” (PDF)ราชกิจจานุเบกษา44: 1480. 14 สิงหาคม 2470.
  4.  “พระบรมราชโองการ ประกาศ ยุบรวมท้องที่บางมณฑลและบางจังหวัด” (PDF)ราชกิจจานุเบกษา48: 576–578. 21 กุมภาพันธ์ 2474.
  5.  “ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องยุบรวมอำเภอ และยุบอำเภอลงเป็นกิ่งอำเภอ” (PDF)ราชกิจจานุเบกษา55: 1840–1842. 29 สิงหาคม พ.ศ. 2481.
  6.  “พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอลาดกระบัง พ.ศ. ๒๕๐๐” (PDF)ราชกิจจานุเบกษา74 (23 ก): 543–545. 5 มีนาคม 2500.
  7.  “ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอลาดกระบัง จังหวัดพระนคร” (PDF)ราชกิจจานุเบกษา78 (44): 1320–1322. 23 พฤษภาคม 2501.
  8.  สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. “จำนวนประชากรและบ้าน.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/xstat/popyear.html 2556. สืบค้น 3 เมษายน 2556.

 

Call Now Button