Category Archives: ซอยชัยพฤกษ์
ซอยชัยพฤกษ์
ซอยชัยพฤกษ์ is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google pagesearch by focus keyword name in category.
เขตวัฒนา เป็นแขวงหนึ่งใน 4 แขวงของเขตวัฒนา
เขตวัฒนา เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต
เนื้อหา
- 1ที่ตั้งและอาณาเขต
- 2ที่มาของชื่อเขต
- 3ประวัติศาสตร์
- 4การแบ่งเขตการปกครอง
- 5ประชากร
- 6การคมนาคม
- 7สถานที่ต่าง ๆ
- 8สถานศึกษา
- 8.1อุดมศึกษา
- 8.2โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
- 8.3โรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.1-6)
- 8.4โรงเรียนประถมศึกษาที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัย-มัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- 8.5โรงเรียนสังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร
- 8.6โรงเรียนสังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.)
- 8.7อาชีวศึกษา
- 8.8กศน
- 9เหตุการณ์สำคัญ
- 10อ้างอิง
- 11แหล่งข้อมูลอื่น
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
ตั้งอยู่บริเวณทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาหรือฝั่งพระนคร มีอาณาเขตริมฟากถนนสุขุมวิทฝั่งเลขคี่ ตั้งแต่ซอยสุขุมวิท 1 ถึงซอยสุขุมวิท 81 โดยติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตราชเทวีและเขตห้วยขวาง มีคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตสวนหลวง มีคลองตัน คลองพระโขนง และคลองบางนางจีนเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้และทิศตะวันตกเฉียงใต้ ติดต่อกับเขตพระโขนงและเขตคลองเตย มีซอยสุขุมวิท 81 (ศิริพจน์) และถนนสุขุมวิทฟากเหนือเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตปทุมวัน มีขอบทางรถไฟสายแม่น้ำฟากตะวันออกเป็นเส้นแบ่งเขต
ที่มาของชื่อเขต[แก้]
ชื่อเขต วัฒนา เป็นชื่อพระราชทานจากสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2540[2]
ประวัติศาสตร์[แก้]
เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2538 มีประกาศกรุงเทพมหานครให้เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตคลองเตย เป็นเขตคลองเตย และเขตคลองเตย สาขา 1 แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 6 แขวง โดยใช้ถนนสุขุมวิทเป็นเส้นแบ่งเขต โดยให้พื้นที่แขวงทางทิศเหนือของถนนสุขุมวิท ประกอบด้วยแขวงคลองเตยเหนือ แขวงคลองตันเหนือ และแขวงพระโขนงเหนือ เป็นพื้นที่ของสำนักงานเขตคลองเตยสาขา 1 ส่วนเขตการปกครองด้านทิศใต้ ประกอบด้วยแขวงคลองเตย แขวงคลองตัน และแขวงพระโขนง เป็นพื้นที่เขตการปกครองของเขตคลองเตย (ปัจจุบัน) ต่อมาได้มีการประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2540 เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตคลองเตย และแต่งตั้งเขตคลองเตย สาขา 1 เป็นเขตวัฒนา ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2541
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
ท้องที่สำนักงานเขตวัฒนาแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 3 แขวง ได้แก่
อักษรไทย | อักษรโรมัน | พื้นที่ (ตร.กม.) |
จำนวนประชากร (ธันวาคม 2562) |
จำนวนบ้าน (ธันวาคม 2562) |
ความหนาแน่นประชากร (ธันวาคม 2562) |
---|---|---|---|---|---|
คลองเตยเหนือ | Khlong Toei Nuea |
2.109
|
9,187
|
17,301
|
4,356.09
|
คลองตันเหนือ | Khlong Tan Nuea |
7.031
|
55,580
|
38,668
|
7,904.99
|
พระโขนงเหนือ | Phra Khanong Nuea |
3.425
|
22,458
|
22,289
|
6,557.08
|
ทั้งหมด |
12.565
|
87,225
|
78,258
|
6,941.90
|
ประชากร[แก้]
[แสดง]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร เขตวัฒนา[3] |
---|
การคมนาคม[แก้]
- ทางสายหลัก
- ถนนสุขุมวิท
- ถนนอโศกมนตรี (สุขุมวิท 21)
- ถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์)
- ถนนอ่อนนุช (สุขุมวิท 77)
- ซอยสุขุมวิท 3 (นานาเหนือ)
- ซอยสุขุมวิท 55 (ทองหล่อ)
- ซอยสุขุมวิท 63 (เอกมัย)
- ทางพิเศษฉลองรัช
- ทางสายรอง
|
|
- ระบบขนส่งมวลชน
- สถานีเอกมัย-สถานีทองหล่อ-สถานีพระโขนง-สถานีอโศกและสถานีพร้อมพงษ์ของรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท
- สถานีสุขุมวิทของรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลเขตวัฒนา เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต
เนื้อหา
- 1ที่ตั้งและอาณาเขต
- 2ที่มาของชื่อเขต
- 3ประวัติศาสตร์
- 4การแบ่งเขตการปกครอง
- 5ประชากร
- 6การคมนาคม
- 7สถานที่ต่าง ๆ
- 8สถานศึกษา
- 8.1อุดมศึกษา
- 8.2โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
- 8.3โรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.1-6)
- 8.4โรงเรียนประถมศึกษาที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัย-มัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- 8.5โรงเรียนสังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร
- 8.6โรงเรียนสังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.)
- 8.7อาชีวศึกษา
- 8.8กศน
- 9เหตุการณ์สำคัญ
- 10อ้างอิง
- 11แหล่งข้อมูลอื่น
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
ตั้งอยู่บริเวณทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาหรือฝั่งพระนคร มีอาณาเขตริมฟากถนนสุขุมวิทฝั่งเลขคี่ ตั้งแต่ซอยสุขุมวิท 1 ถึงซอยสุขุมวิท 81 โดยติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตราชเทวีและเขตห้วยขวาง มีคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตสวนหลวง มีคลองตัน คลองพระโขนง และคลองบางนางจีนเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้และทิศตะวันตกเฉียงใต้ ติดต่อกับเขตพระโขนงและเขตคลองเตย มีซอยสุขุมวิท 81 (ศิริพจน์) และถนนสุขุมวิทฟากเหนือเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตปทุมวัน มีขอบทางรถไฟสายแม่น้ำฟากตะวันออกเป็นเส้นแบ่งเขต
ที่มาของชื่อเขต[แก้]
ชื่อเขต วัฒนา เป็นชื่อพระราชทานจากสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2540[2]
ประวัติศาสตร์[แก้]
เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2538 มีประกาศกรุงเทพมหานครให้เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตคลองเตย เป็นเขตคลองเตย และเขตคลองเตย สาขา 1 แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 6 แขวง โดยใช้ถนนสุขุมวิทเป็นเส้นแบ่งเขต โดยให้พื้นที่แขวงทางทิศเหนือของถนนสุขุมวิท ประกอบด้วยแขวงคลองเตยเหนือ แขวงคลองตันเหนือ และแขวงพระโขนงเหนือ เป็นพื้นที่ของสำนักงานเขตคลองเตยสาขา 1 ส่วนเขตการปกครองด้านทิศใต้ ประกอบด้วยแขวงคลองเตย แขวงคลองตัน และแขวงพระโขนง เป็นพื้นที่เขตการปกครองของเขตคลองเตย (ปัจจุบัน) ต่อมาได้มีการประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2540 เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตคลองเตย และแต่งตั้งเขตคลองเตย สาขา 1 เป็นเขตวัฒนา ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2541
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
ท้องที่สำนักงานเขตวัฒนาแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 3 แขวง ได้แก่
อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2562)จำนวนบ้าน
(ธันวาคม 2562)ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2562)คลองเตยเหนือ Khlong Toei Nuea 2.1099,18717,3014,356.09คลองตันเหนือ Khlong Tan Nuea 7.03155,58038,6687,904.99พระโขนงเหนือ Phra Khanong Nuea 3.42522,45822,2896,557.08ทั้งหมด 12.56587,22578,2586,941.90ประชากร[แก้]
[แสดง]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร
เขตวัฒนา[3]การคมนาคม[แก้]
- ทางสายหลัก
- ถนนสุขุมวิท
- ถนนอโศกมนตรี (สุขุมวิท 21)
- ถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์)
- ถนนอ่อนนุช (สุขุมวิท 77)
- ซอยสุขุมวิท 3 (นานาเหนือ)
- ซอยสุขุมวิท 55 (ทองหล่อ)
- ซอยสุขุมวิท 63 (เอกมัย)
- ทางพิเศษฉลองรัช
- ทางสายรอง
- ซอยสุขุมวิท 23 (ประสานมิตร)
- ซอยสุขุมวิท 31 (สวัสดี)
- ซอยสุขุมวิท 39 (พร้อมพงษ์)
- ซอยสุขุมวิท 49 (กลาง)
- ซอยสุขุมวิท 65 (ชัยพฤกษ์)
- ซอยสุขุมวิท 81 (ศิริพจน์)
- ซอยทองหล่อ 10 / ซอยเอกมัย 5 (เจริญสุข)
- ซอยทองหล่อ 20 / ซอยเอกมัย 21 (แจ่มจันทร์)
- ซอยเอกมัย 10 / ซอยปรีดี พนมยงค์ 25 (เจริญมิตร)
- ซอยเอกมัย 12 / ซอยปรีดี พนมยงค์ 31 (เจริญใจ)
- ซอยปรีดี พนมยงค์ 14 (มีสุวรรณ 3)
- ซอยปรีดี พนมยงค์ 26 (พัฒนเวศม์)
- ระบบขนส่งมวลชน
- สถานีเอกมัย-สถานีทองหล่อ-สถานีพระโขนง-สถานีอโศกและสถานีพร้อมพงษ์ของรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท
- สถานีสุขุมวิทของรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลเขตวัฒนา เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต
เนื้อหา
- 1ที่ตั้งและอาณาเขต
- 2ที่มาของชื่อเขต
- 3ประวัติศาสตร์
- 4การแบ่งเขตการปกครอง
- 5ประชากร
- 6การคมนาคม
- 7สถานที่ต่าง ๆ
- 8สถานศึกษา
- 8.1อุดมศึกษา
- 8.2โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
- 8.3โรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.1-6)
- 8.4โรงเรียนประถมศึกษาที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัย-มัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- 8.5โรงเรียนสังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร
- 8.6โรงเรียนสังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.)
- 8.7อาชีวศึกษา
- 8.8กศน
- 9เหตุการณ์สำคัญ
- 10อ้างอิง
- 11แหล่งข้อมูลอื่น
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
ตั้งอยู่บริเวณทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาหรือฝั่งพระนคร มีอาณาเขตริมฟากถนนสุขุมวิทฝั่งเลขคี่ ตั้งแต่ซอยสุขุมวิท 1 ถึงซอยสุขุมวิท 81 โดยติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตราชเทวีและเขตห้วยขวาง มีคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตสวนหลวง มีคลองตัน คลองพระโขนง และคลองบางนางจีนเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้และทิศตะวันตกเฉียงใต้ ติดต่อกับเขตพระโขนงและเขตคลองเตย มีซอยสุขุมวิท 81 (ศิริพจน์) และถนนสุขุมวิทฟากเหนือเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตปทุมวัน มีขอบทางรถไฟสายแม่น้ำฟากตะวันออกเป็นเส้นแบ่งเขต
ที่มาของชื่อเขต[แก้]
ชื่อเขต วัฒนา เป็นชื่อพระราชทานจากสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2540[2]
ประวัติศาสตร์[แก้]
เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2538 มีประกาศกรุงเทพมหานครให้เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตคลองเตย เป็นเขตคลองเตย และเขตคลองเตย สาขา 1 แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 6 แขวง โดยใช้ถนนสุขุมวิทเป็นเส้นแบ่งเขต โดยให้พื้นที่แขวงทางทิศเหนือของถนนสุขุมวิท ประกอบด้วยแขวงคลองเตยเหนือ แขวงคลองตันเหนือ และแขวงพระโขนงเหนือ เป็นพื้นที่ของสำนักงานเขตคลองเตยสาขา 1 ส่วนเขตการปกครองด้านทิศใต้ ประกอบด้วยแขวงคลองเตย แขวงคลองตัน และแขวงพระโขนง เป็นพื้นที่เขตการปกครองของเขตคลองเตย (ปัจจุบัน) ต่อมาได้มีการประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2540 เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตคลองเตย และแต่งตั้งเขตคลองเตย สาขา 1 เป็นเขตวัฒนา ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2541
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
ท้องที่สำนักงานเขตวัฒนาแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 3 แขวง ได้แก่
อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2562)จำนวนบ้าน
(ธันวาคม 2562)ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2562)คลองเตยเหนือ Khlong Toei Nuea 2.1099,18717,3014,356.09คลองตันเหนือ Khlong Tan Nuea 7.03155,58038,6687,904.99พระโขนงเหนือ Phra Khanong Nuea 3.42522,45822,2896,557.08ทั้งหมด 12.56587,22578,2586,941.90ประชากร[แก้]
[แสดง]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร
เขตวัฒนา[3]การคมนาคม[แก้]
- ทางสายหลัก
- ถนนสุขุมวิท
- ถนนอโศกมนตรี (สุขุมวิท 21)
- ถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์)
- ถนนอ่อนนุช (สุขุมวิท 77)
- ซอยสุขุมวิท 3 (นานาเหนือ)
- ซอยสุขุมวิท 55 (ทองหล่อ)
- ซอยสุขุมวิท 63 (เอกมัย)
- ทางพิเศษฉลองรัช
- ทางสายรอง
- ซอยสุขุมวิท 23 (ประสานมิตร)
- ซอยสุขุมวิท 31 (สวัสดี)
- ซอยสุขุมวิท 39 (พร้อมพงษ์)
- ซอยสุขุมวิท 49 (กลาง)
- ซอยสุขุมวิท 65 (ชัยพฤกษ์)
- ซอยสุขุมวิท 81 (ศิริพจน์)
- ซอยทองหล่อ 10 / ซอยเอกมัย 5 (เจริญสุข)
- ซอยทองหล่อ 20 / ซอยเอกมัย 21 (แจ่มจันทร์)
- ซอยเอกมัย 10 / ซอยปรีดี พนมยงค์ 25 (เจริญมิตร)
- ซอยเอกมัย 12 / ซอยปรีดี พนมยงค์ 31 (เจริญใจ)
- ซอยปรีดี พนมยงค์ 14 (มีสุวรรณ 3)
- ซอยปรีดี พนมยงค์ 26 (พัฒนเวศม์)
- ระบบขนส่งมวลชน
- สถานีเอกมัย-สถานีทองหล่อ-สถานีพระโขนง-สถานีอโศกและสถานีพร้อมพงษ์ของรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท
- สถานีสุขุมวิทของรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล