Category Archives: ถนนพระราม 9
ถนนพระราม 9
ถนนพระราม 9 is the position for activity in post to be presented at the 1st rank on Google page search by address the focus keyphrase name in category.
นนพระราม 9 (อักษรโรมัน: Thanon Rama IX) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 9 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่ทางแยกพระราม 9 ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนรัชดาภิเษกและถนนอโศก-ดินแดงในพื้นที่เขตดินแดง มุ่งหน้าไปทางตะวันออก เข้าพื้นที่เขตห้วยขวาง ผ่านแยกถนนวัฒนธรรม ผ่านจุดตัดกับถนนประดิษฐ์มนูธรรม และตัดกับถนนรามคำแหงในพื้นที่เขตบางกะปิ ไปสิ้นสุดที่ทางแยกต่างระดับศรีนครินทร์ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนศรีนครินทร์ในพื้นที่เขตสวนหลวง โดยมีถนนมอเตอร์เวย์เป็นเส้นทางต่อเนื่อง ซึ่งถนนพระราม 9 ช่วงตั้งแต่ทางแยกรามคำแหงถึงทางแยกต่างระดับถนนศรีนครินทร์ มีฐานะเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 343 เดิมอยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง ปัจจุบันอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร
เหตุที่ถนนพระราม 9 ไม่มีคำว่า “ที่” ต่อท้ายนั้น ปรากฏชัดเจนจากพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่พระราชทานแก่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและปลัดกรุงเทพมหานครเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2539 ว่า ไม่มีพระราชประสงค์ให้มีคำ “ที่” ต่อท้ายคำ “พระราม” ซึ่งควรถือว่าเป็นพระราชนิยมของพระองค์[1]
เขตห้วยขวาง Khet Huay Khwang is one of 50 districts of กรุงเทพมหานคร Bangkok, Thailand.
ติดต่อเรา – สำนักงานเขตห้วยขวาง – กรุงเทพมหานคร
เขตห้วยขวาง – วิกิพีเดีย
สำนักงานเขตห้วยขวาง ขหข | Facebook
บริษัท เอ็มเค เมทัลชีท โปรดักส์ จำกัด
MK Metalsheet Products Company Limited
เขตห้วยขวาง เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก
เนื้อหา
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
เขตห้วยขวางตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางเหนือของฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตจตุจักรและเขตลาดพร้าว มีคลองน้ำแก้วและคลองลาดพร้าวเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตวังทองหลาง เขตบางกะปิ และเขตสวนหลวง มีคลองลาดพร้าวและคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับเขตวัฒนา มีคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตราชเทวีและเขตดินแดง มีถนนอโศก-ดินแดงและถนนรัชดาภิเษกเป็นเส้นแบ่งเขต
ที่มาของชื่อเขต[แก้]
ในอดีตฤดูฝนของเขตนี้เต็มไปด้วยบึงใหญ่เนื่องจากเป็นที่ลุ่มต้องเดินทางด้วยเรือ และมีห้วยขวางอยู่เสมอ
ประวัติ[แก้]
เขตห้วยขวาง ได้รับการจัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาในวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2516[2] โดยแยกพื้นที่การปกครองมาจากเขตพญาไท 2 แขวง คือ แขวงห้วยขวางและแขวงบางกะปิ จากนั้นในปี พ.ศ. 2521 ได้มีพระราชกฤษฎีกาโอนแขวงดินแดงจากเขตพญาไทและแขวงสามเสนนอกจากเขตบางกะปิมารวมกับเขตห้วยขวาง และโอนพื้นที่บางส่วนของเขตไปรวมกับเขตพญาไท[3] เพื่อจัดขนาดพื้นที่และจำนวนประชากรของแต่ละเขตให้มีความเหมาะสม ทำให้เขตห้วยขวางมีพื้นที่ปกครอง 4 แขวง
จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2536 กระทรวงมหาดไทยได้มีประกาศเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตห้วยขวาง โดยแยกแขวงดินแดงไปจัดตั้งเป็นเขตดินแดง[4]
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
เขตห้วยขวางแบ่งหน่วยการปกครองย่อยออกเป็น 3 แขวง ได้แก่
อักษรไทย | อักษรโรมัน | พื้นที่ (ตร.กม.) |
จำนวนประชากร (ธันวาคม 2561) |
จำนวนบ้าน (ธันวาคม 2561) |
ความหนาแน่นประชากร (ธันวาคม 2561) |
---|---|---|---|---|---|
ห้วยขวาง | Huai Khwang |
5.342
|
25,879
|
30,337
|
4,844.44
|
บางกะปิ | Bang Kapi |
5.408
|
17,606
|
25,609
|
3,255.54
|
สามเสนนอก | Samsen Nok |
4.283
|
38,204
|
23,822
|
8,919.91
|
ทั้งหมด |
15.033
|
81,689
|
79,768
|
5,433.97
|
ประชากร[แก้]
[แสดง]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร เขตห้วยขวาง[5] |
---|
การคมนาคม[แก้]
- ถนนสายหลัก
- ถนนรัชดาภิเษก
- ถนนเพชรบุรี
- ถนนประดิษฐ์มนูธรรม
- ถนนประชาราษฎร์บำเพ็ญ
- ถนนเทียมร่วมมิตร
- ถนนพระราม 9
- ถนนเพชรอุทัย
- ถนนลาดพร้าว
- ถนนสุทธิสารวินิจฉัย
- ถนนประชาอุทิศ
- ถนนวัฒนธรรม
- ถนนเพชรพระราม
- ทางพิเศษศรีรัช
- ทางพิเศษฉลองรัช
นอกจากนี้ ยังมีเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล พาดผ่านในเขตห้วยขวาง ซึ่งประกอบด้วย สถานีพระราม 9 สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย สถานีห้วยขวาง และสถานีสุทธิสาร ตามลำดับ
สถานที่สำคัญ[แก้]
- โรงพยาบาลปิยะเวท
- กระทรวงวัฒนธรรม (วธ.)
- กรมส่งเสริมวัฒนธรรม
- ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
- สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์
- สถานีโทรทัศน์เอ็นบีทีเวิลด์
- วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก
- วัดอุทัยธาราม (บางกะปิ)
- การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.)
- บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)
- องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)
- ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.)
- โรงละครกรุงเทพ
- สยามนิรมิต
- โรงพยาบาลพระราม 9
สถานศึกษา[แก้]
โรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.1-6)[แก้]
โรงเรียนประถมศึกษาที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัย-มัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน[แก้]
โรงเรียนสังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร[แก้]
โรงเรียนสังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.)[แก้]
- โรงเรียนอนุบาลสองภาษาบ้านต้นไม้
- โรงเรียนสมาคมไทย-ญี่ปุ่น
- โรงเรียนนานาชาติคิซอินเตอร์เนชั่นแนล
- โรงเรียนชาญวิทย์
- โรงเรียนดลวิทยา
- โรงเรียนสมฤทัย
- โรงเรียนสิริเทพ
- โรงเรียนอนุบาลโชคชัย
- โรงเรียนอนุบาลทรงวิทย์
- โรงเรียนอนุบาลวัฒนานิเวศน์
- โรงเรียนอนุบาลสีชมพูมอนเทสเซอริ
- โรงเรียนอันวารุ้ลอิสลาม
- โรงเรียนอนุบาลนานาชาติเพรพ
- โรงเรียนอนุบาลบุณยรักษ์