Category Archives: สะพานตากสิน
สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน
สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน is a position for activity in post to be presented at the 1st rank on Google page search by address the focus keyphrase name in category.
สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หรือที่รู้จักในนาม สะพานสาทร เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมถนนสาทร (เขตสาทรและเขตบางรัก) กับถนนกรุงธนบุรี (เขตคลองสาน) เป็นสะพานคู่แยกขาเข้า-ขาออก และเว้นเนื้อที่ระหว่างสะพานไว้เผื่อสร้างระบบขนส่งมวลชนอื่น โดยปัจจุบัน พื้นที่ระหว่างสะพานเป็นรางรถไฟฟ้าบีทีเอสสายสีลม และพื้นที่ในฝั่งพระนครยังเป็นที่ตั้งของสถานีสะพานตากสินอีกด้วย
สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเป็นที่รู้กันของชาวกรุงเทพฯ ว่าประสบปัญหาการจราจรอย่างหนัก โดยเฉพาะขาเข้าฝั่งพระนคร เนื่องจากปริมาณรถมาก และเชิงสะพานฝั่งพระนครมีสัญญาณไฟจราจร จึงเป็นการปิดกั้นกระแสรถจากฝั่งธนบุรีซึ่งมีปริมาณมากให้ไหลไปได้ช้า โดยเฉพาะชั่วโมงเร่งด่วนที่มีปริมาณรถมากเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังมีโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนตั้งอยู่ปลายสะพานทางฝั่งพระนครซึ่งในช่วงเวลาเช้าจะมีผู้ปกครองจอดรถเพื่อส่งเด็กนักเรียนเป็นจำนวนมาก และใช้เวลานานมาก ซึ่งเป็นที่มาส่วนหนึ่งของการจราจรที่ติดขัดเป็นพิเศษ[1]
เขตคลองสาน Khet Klong San is one of 50 districts of กรุงเทพมหานคร Bangkok, Thailand.
เขตคลองสาน เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี
ที่ตั้งและอาณาเขต
ตั้งอยู่บริเวณตะวันออกสุดของฝั่งธนบุรี มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตพระนครและเขตสัมพันธวงศ์ มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตบางรักและเขตสาทร มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศใต้ ติดต่อกับเขตบางคอแหลม มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขตเช่นกัน
ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตธนบุรี มีคลองบางไส้ไก่ ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน และถนนประชาธิปกเป็นเส้นแบ่งเขต
เขตคลองสานเดิมมีฐานะเป็น อำเภอบางลำภูล่าง อยู่ในเขตปกครองของจังหวัดธนบุรี และได้เปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอบุปผาราม ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนนามอำเภอบุปผารามเป็น อำเภอคลองสาน ใน พ.ศ. 2459 เนื่องจากมีขณะนั้นที่ตั้งอำเภออยู่ที่วัดทองนพคุณในเขตตำบลคลองสาน
ใน พ.ศ. 2481 ได้มีประกาศสำนักนายกรัฐมนตรียุบรวมอำเภอและยุบอำเภอลงเป็นกิ่งอำเภอ โดยอำเภอคลองสานได้ถูกลดฐานะลงเป็น กิ่งอำเภอคลองสาน ขึ้นกับอำเภอบางยี่เรือ (ใน พ.ศ. 2482 อำเภอบางยี่เรือได้เปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอธนบุรี)
ต่อมาในพื้นที่กิ่งอำเภอคลองสานมีจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น ใน พ.ศ. 2500 จึงได้มีพระราชกฤษฎีกาตั้ง อำเภอคลองสาน ขึ้นอีกครั้ง
ครั้นใน พ.ศ. 2514 ได้มีประกาศคณะปฏิวัติให้รวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าเป็นจังหวัดนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและมีฐานะเป็นกรุงเทพมหานครใน พ.ศ. 2515 แบ่งพื้นที่ออกเป็นเขตและแขวงแทนอำเภอและตำบล อำเภอคลองสานจึงเปลี่ยนฐานะเป็น เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร
เขตคลองสานแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 4 แขวง
เขตคลองสาน
เขตคลองสาน
|
|
---|---|
คำขวัญ: แผ่นดินพระเจ้าตากสิน ถิ่นเดิมผลไม้ดัง ติดฝั่งเจ้าพระยา โบราณสถานเด่นสง่า อุทยานสมเด็จย่ารวมใจ |
|
พิกัดภูมิศาสตร์: 13°43′49″N 100°30′35″E | |
อักษรไทย | เขตคลองสาน |
อักษรโรมัน | Khet Khlong San |
พื้นที่[1] | |
• ทั้งหมด | 6.87 ตร.กม. (2.65 ตร.ไมล์) |
ประชากร (2561)[2] | |
• ทั้งหมด | 72,171 |
• ความหนาแน่น | 10,505.24 คน/ตร.กม. (27,208.4 คน/ตร.ไมล์) |
รหัสไปรษณีย์ | 10600 |
รหัสภูมิศาสตร์ | 1018 |
ที่อยู่ สำนักงาน |
เลขที่ 861 ถนนลาดหญ้า แขวงคลองสาน เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร 10600 |
เว็บไซต์ | www.bangkok.go.th/khlongsarn |
เขตคลองสาน เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี
เนื้อหา
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
ตั้งอยู่บริเวณตะวันออกสุดของฝั่งธนบุรี มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตพระนครและเขตสัมพันธวงศ์ มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตบางรักและเขตสาทร มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับเขตบางคอแหลม มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขตเช่นกัน
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตธนบุรี มีคลองบางไส้ไก่ ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน และถนนประชาธิปกเป็นเส้นแบ่งเขต
ประวัติศาสตร์[แก้]
เขตคลองสานเดิมมีฐานะเป็น อำเภอบางลำภูล่าง อยู่ในเขตปกครองของจังหวัดธนบุรี และได้เปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอบุปผาราม ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนนามอำเภอบุปผารามเป็น อำเภอคลองสาน ใน พ.ศ. 2459 เนื่องจากมีขณะนั้นที่ตั้งอำเภออยู่ที่วัดทองนพคุณในเขตตำบลคลองสาน
ใน พ.ศ. 2481 ได้มีประกาศสำนักนายกรัฐมนตรียุบรวมอำเภอและยุบอำเภอลงเป็นกิ่งอำเภอ โดยอำเภอคลองสานได้ถูกลดฐานะลงเป็น กิ่งอำเภอคลองสาน ขึ้นกับอำเภอบางยี่เรือ (ใน พ.ศ. 2482 อำเภอบางยี่เรือได้เปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอธนบุรี)
ต่อมาในพื้นที่กิ่งอำเภอคลองสานมีจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น ใน พ.ศ. 2500 จึงได้มีพระราชกฤษฎีกาตั้ง อำเภอคลองสาน ขึ้นอีกครั้ง
ครั้นใน พ.ศ. 2514 ได้มีประกาศคณะปฏิวัติให้รวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าเป็นจังหวัดนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและมีฐานะเป็นกรุงเทพมหานครใน พ.ศ. 2515 แบ่งพื้นที่ออกเป็นเขตและแขวงแทนอำเภอและตำบล อำเภอคลองสานจึงเปลี่ยนฐานะเป็น เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
เขตคลองสานแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 4 แขวง ได้แก่
อักษรไทย | อักษรโรมัน | พื้นที่ (ตร.กม.) |
จำนวนประชากร (ธันวาคม 2561) |
จำนวนบ้าน (ธันวาคม 2561) |
ความหนาแน่นประชากร (ธันวาคม 2561) |
---|---|---|---|---|---|
สมเด็จเจ้าพระยา | Somdet Chao Phraya |
1.16
|
13,027
|
5,051
|
11,230.17
|
คลองสาน | Khlong San |
1.49
|
16,048
|
5,861
|
10,770.46
|
บางลำภูล่าง | Bang Lamphu Lang |
2.47
|
24,344
|
13,299
|
9,855.87
|
คลองต้นไทร | Khlong Ton Sai |
1.75
|
18,752
|
14,619
|
10,715.42
|
ทั้งหมด |
6.87
|
72,171
|
38,830
|
10,505.24
|
ประชากร[แก้]
[แสดง]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร เขตคลองสาน[3] |
---|
สถานที่สำคัญ[แก้]
- วัดสุวรรณ
- วัดอนงคาราม
- วัดพิชยญาติการาม
- วัดทองธรรมชาติ
- วัดทองนพคุณ
- วัดเศวตฉัตรวรวิหาร
- วัดสุทธาราม
- อุทยานเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และ ศาลเจ้ากวนอู
- สวนป่าเฉลิมพระเกียรติ ใต้สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน ฝั่งธนบุรี
- ท่าน้ำคลองสาน
- ท่าน้ำเป๊ปซี่
- ท่าน้ำท่าดินแดง
- สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
- โรงพยาบาลตากสิน
- บ้านหวั่งหลี และ ล้ง 1919
- เก๋งจีนทั่งง่วนฮะ
- ไอคอนสยาม
ระบบขนส่งมวลชน[แก้]
- สถานีกรุงธนบุรีและสถานีวงเวียนใหญ่ของรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษาสายสีลม
สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา[แก้]
มี 2 สะพาน คือ
- สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน เชื่อมต่อระหว่างเขตคลองสานกับเขตบางรักและเขตสาทร
- สะพานพระปกเกล้า เชื่อมต่อระหว่างเขตคลองสานกับเขตพระนคร