Category Archives: ซอยสุขาภิบาล 1
ซอยสุขาภิบาล 1
ซอยสุขาภิบาล 1 is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google pagesearch by focus keyword name in category.
ซอยสุขาภิบาล 1 เป็นแขวงหนึ่งใน 2 แขวงของเขตบางเขน
เขตบางเขน เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมืองทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร และเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 4 รองจากเขตบางแค
เนื้อหา
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
ตั้งอยู่บริเวณฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาหรือฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตสายไหม มีถนนพหลโยธิน คลองลำผักชี คลองหนองจอก คลองตะแคง คลองหนองบัวมน คลองบึงพระยาสุเรนทร์ (ออเป้ง) เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตคลองสามวา มีคลองพระยาสุเรนทร์และคลองคู้ชุมเห็ดเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับเขตคันนายาว เขตบึงกุ่ม และเขตลาดพร้าว มีคลองจรเข้บัว (หกขุด) คลองลำชะล่า คลองตาเร่ง คลองโคกคราม คลองสามขา และคลองหลุมไผ่เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตจตุจักร เขตหลักสี่ และเขตดอนเมือง มีคลองบางบัวและคลองถนนเป็นเส้นแบ่งเขต
ประวัติศาสตร์[แก้]
เขตบางเขนเดิมมีฐานะเป็น อำเภอบางเขน จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2440 ขึ้นอยู่กับจังหวัดพระนคร เดิมทิศตะวันตกของอำเภอมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดนนทบุรีโดยใช้แนวคลองเปรมประชากรเป็นเส้นแบ่งเขตจังหวัด จนกระทั่งในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2475 ทางราชการได้โอนพื้นที่ซึ่งตั้งอยู่ทางฟากตะวันตกของคลองนี้ (ได้แก่ ตำบลทุ่งสองห้องจากอำเภอปากเกร็ด และหมู่ที่ 1-3 ของตำบลลาดโตนดจากอำเภอเมืองนนทบุรี) มาอยู่ในท้องที่ปกครองของอำเภอบางเขน เพื่อความสะดวกในการตรวจตราของเจ้าหน้าที่และความสะดวกในการติดต่อราชการของประชาชนในท้องที่ดังกล่าว คลองประปาจึงกลายเป็นแนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างทั้งสองจังหวัดแทนนับแต่นั้น
เนื่องจากอำเภอบางเขนมีอาณาเขตกว้างขวางมาก ประกอบกับมีชุมนุมชน ย่านการค้า และอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นในท้องที่ ในปี พ.ศ. 2490 กระทรวงมหาดไทยจึงได้แบ่งพื้นที่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของตำบลสายไหมตั้งเป็นตำบลออเงิน รวมพื้นที่บางส่วนของตำบลอนุสาวรีย์และตำบลตลาดบางเขนตั้งเป็นตำบลคลองถนน และแบ่งพื้นที่ทางทิศเหนือของตำบลทุ่งสองห้องตั้งเป็นตำบลสีกัน และได้จัดตั้งสุขาภิบาลอนุสาวรีย์ขึ้นในบางส่วนของตำบลอนุสาวรีย์เมื่อปี พ.ศ. 2499 (ภายหลังได้ขยายเขตครอบคลุมทั้งอำเภอ จนกระทั่งเทศบาลนครกรุงเทพได้โอนเอาตำบลลาดยาวเข้าไปอยู่ในท้องที่ในปี พ.ศ. 2507)
ต่อมาในช่วงปี พ.ศ. 2514–2515 มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะการปกครองภูมิภาคไปสู่การปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี กล่าวคือ รวมจังหวัดทั้งสองเข้าด้วยกันเป็นจังหวัดนครหลวงกรุงเทพธนบุรี และเปลี่ยนเป็นกรุงเทพมหานคร ยุบการปกครองแบบเทศบาลและสุขาภิบาล รวมทั้งแบ่งหน่วยการปกครองออกเป็นเขตและแขวงแทนอำเภอและตำบล อำเภอบางเขนจึงเปลี่ยนฐานะเป็น เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร แบ่งออกเป็น 8 แขวง
ต่อมาเมื่อมีประชากรหนาแน่นขึ้นเนื่องจากความเจริญทางเศรษฐกิจและสาธารณูปโภค รวมทั้งท้องที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต เพื่อสะดวกแก่การปกครองและการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน กระทรวงมหาดไทยจึงมีประกาศแบ่งพื้นที่ทางทิศตะวันตกและทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเขตไปจัดตั้งเป็นเขตดอนเมืองและเขตจตุจักรในปี พ.ศ. 2532 และเมื่อปี พ.ศ. 2540 ก็ได้แบ่งพื้นที่ทิศเหนือของเขตไปจัดตั้งเป็นเขตสายไหม แต่ในเวลาเดียวกันก็ได้รับพื้นที่บางส่วนของแขวงจรเข้บัว เขตลาดพร้าว มาอยู่ในการปกครอง โดยปัจจุบันมีฐานะเป็นหมู่ที่ 8-10 ของแขวงท่าแร้ง
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
เขตบางเขนแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 2 แขวง โดยมีคลองกะเฉด คลองลำไผ่ และคลองไผ่เขียวเป็นเส้นแบ่งเขต ได้แก่
อักษรไทย | อักษรโรมัน | พื้นที่ (ตร.กม.) |
จำนวนประชากร (ธันวาคม 2562) |
จำนวนบ้าน (ธันวาคม 2562) |
ความหนาแน่นประชากร (ธันวาคม 2562) |
---|---|---|---|---|---|
อนุสาวรีย์ | Anusawari |
18.406
|
91,840
|
59,025
|
4,989.67
|
ท่าแร้ง | Tha Raeng |
23.717
|
97,160
|
53,589
|
4,096.63
|
ทั้งหมด |
42.123
|
189,000
|
112,614
|
4,486.85
|
ประชากร[แก้]
[แสดง]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร เขตบางเขน[2] |
---|
การคมนาคม[แก้]
- ทางสายหลัก
|
- ทางสายรองและทางลัด
|
|
- ทางน้ำ
- คลองถนน
- คลองบางบัวใช้สัญจร
สถานที่สำคัญ[แก้]
- วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร
- อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ
- เสถียรธรรมสถาน
- ตลาดยิ่งเจริญ
- กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์
- กรมทางหลวงชนบท
- สนามมวยเวทีลุมพินี
สถานประกอบพยาบาล[แก้]
- โรงพยาบาลเซ็นทรัลเยนเนอรัล
- โรงพยาบาลสายหยุด
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 1
- สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมืองเขตบางเขน เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมืองทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร และเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 4 รองจากเขตบางแค
เนื้อหา
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
ตั้งอยู่บริเวณฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาหรือฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตสายไหม มีถนนพหลโยธิน คลองลำผักชี คลองหนองจอก คลองตะแคง คลองหนองบัวมน คลองบึงพระยาสุเรนทร์ (ออเป้ง) เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตคลองสามวา มีคลองพระยาสุเรนทร์และคลองคู้ชุมเห็ดเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับเขตคันนายาว เขตบึงกุ่ม และเขตลาดพร้าว มีคลองจรเข้บัว (หกขุด) คลองลำชะล่า คลองตาเร่ง คลองโคกคราม คลองสามขา และคลองหลุมไผ่เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตจตุจักร เขตหลักสี่ และเขตดอนเมือง มีคลองบางบัวและคลองถนนเป็นเส้นแบ่งเขต
ประวัติศาสตร์[แก้]
เขตบางเขนเดิมมีฐานะเป็น อำเภอบางเขน จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2440 ขึ้นอยู่กับจังหวัดพระนคร เดิมทิศตะวันตกของอำเภอมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดนนทบุรีโดยใช้แนวคลองเปรมประชากรเป็นเส้นแบ่งเขตจังหวัด จนกระทั่งในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2475 ทางราชการได้โอนพื้นที่ซึ่งตั้งอยู่ทางฟากตะวันตกของคลองนี้ (ได้แก่ ตำบลทุ่งสองห้องจากอำเภอปากเกร็ด และหมู่ที่ 1-3 ของตำบลลาดโตนดจากอำเภอเมืองนนทบุรี) มาอยู่ในท้องที่ปกครองของอำเภอบางเขน เพื่อความสะดวกในการตรวจตราของเจ้าหน้าที่และความสะดวกในการติดต่อราชการของประชาชนในท้องที่ดังกล่าว คลองประปาจึงกลายเป็นแนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างทั้งสองจังหวัดแทนนับแต่นั้น
เนื่องจากอำเภอบางเขนมีอาณาเขตกว้างขวางมาก ประกอบกับมีชุมนุมชน ย่านการค้า และอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นในท้องที่ ในปี พ.ศ. 2490 กระทรวงมหาดไทยจึงได้แบ่งพื้นที่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของตำบลสายไหมตั้งเป็นตำบลออเงิน รวมพื้นที่บางส่วนของตำบลอนุสาวรีย์และตำบลตลาดบางเขนตั้งเป็นตำบลคลองถนน และแบ่งพื้นที่ทางทิศเหนือของตำบลทุ่งสองห้องตั้งเป็นตำบลสีกัน และได้จัดตั้งสุขาภิบาลอนุสาวรีย์ขึ้นในบางส่วนของตำบลอนุสาวรีย์เมื่อปี พ.ศ. 2499 (ภายหลังได้ขยายเขตครอบคลุมทั้งอำเภอ จนกระทั่งเทศบาลนครกรุงเทพได้โอนเอาตำบลลาดยาวเข้าไปอยู่ในท้องที่ในปี พ.ศ. 2507)
ต่อมาในช่วงปี พ.ศ. 2514–2515 มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะการปกครองภูมิภาคไปสู่การปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี กล่าวคือ รวมจังหวัดทั้งสองเข้าด้วยกันเป็นจังหวัดนครหลวงกรุงเทพธนบุรี และเปลี่ยนเป็นกรุงเทพมหานคร ยุบการปกครองแบบเทศบาลและสุขาภิบาล รวมทั้งแบ่งหน่วยการปกครองออกเป็นเขตและแขวงแทนอำเภอและตำบล อำเภอบางเขนจึงเปลี่ยนฐานะเป็น เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร แบ่งออกเป็น 8 แขวง
ต่อมาเมื่อมีประชากรหนาแน่นขึ้นเนื่องจากความเจริญทางเศรษฐกิจและสาธารณูปโภค รวมทั้งท้องที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต เพื่อสะดวกแก่การปกครองและการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน กระทรวงมหาดไทยจึงมีประกาศแบ่งพื้นที่ทางทิศตะวันตกและทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเขตไปจัดตั้งเป็นเขตดอนเมืองและเขตจตุจักรในปี พ.ศ. 2532 และเมื่อปี พ.ศ. 2540 ก็ได้แบ่งพื้นที่ทิศเหนือของเขตไปจัดตั้งเป็นเขตสายไหม แต่ในเวลาเดียวกันก็ได้รับพื้นที่บางส่วนของแขวงจรเข้บัว เขตลาดพร้าว มาอยู่ในการปกครอง โดยปัจจุบันมีฐานะเป็นหมู่ที่ 8-10 ของแขวงท่าแร้ง
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
เขตบางเขนแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 2 แขวง โดยมีคลองกะเฉด คลองลำไผ่ และคลองไผ่เขียวเป็นเส้นแบ่งเขต ได้แก่
อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2562)จำนวนบ้าน
(ธันวาคม 2562)ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2562)อนุสาวรีย์ Anusawari 18.40691,84059,0254,989.67ท่าแร้ง Tha Raeng 23.71797,16053,5894,096.63ทั้งหมด 42.123189,000112,6144,486.85ประชากร[แก้]
[แสดง]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร
เขตบางเขน[2]การคมนาคม[แก้]
- ทางสายหลัก
- ถนนสุขาภิบาล 5 (กม.11)
- ถนนลาดปลาเค้า
- ถนนเทพรักษ์ (พหลโยธิน-รัตนโกสินทร์สมโภช)
- ทางพิเศษฉลองรัช
- รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท (กำลังก่อสร้าง)
- ทางสายรองและทางลัด
- ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3901 (คู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านนอก)
- ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3902 (คู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านใน)
- ถนนราบ. 11
- ซอยร่วมมิตรพัฒนา
- ซอยพหลโยธิน 48 (สายหยุด)
- ซอยรามอินทรา 5 (สุขาภิบาล 1)
- ซอยรามอินทรา 8 (รัตนาราม)
- ซอยรามอินทรา 14 (มัยลาภ)
- ซอยรามอินทรา 19 (สุขาภิบาล 2)
- ซอยรามอินทรา 23 (สุขาภิบาล 4)
- ซอยรามอินทรา 39 (สุขาภิบาล 5)
- ซอยรามอินทรา 34 (อยู่เย็น)
- ซอยรามอินทรา 65 (ถนอมมิตร)
- ซอยคู้บอน 27 (สยามธรณี)
- ทางน้ำ
- คลองถนน
- คลองบางบัวใช้สัญจร
สถานที่สำคัญ[แก้]
- วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร
- อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ
- เสถียรธรรมสถาน
- ตลาดยิ่งเจริญ
- กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์
- กรมทางหลวงชนบท
- สนามมวยเวทีลุมพินี
สถานประกอบพยาบาล[แก้]