Category Archives: อำเภอแกลง

อำเภอแกลง

อำเภอแกลง is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google pagesearch by focus keyword name in category.

อำเภอแกลง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดระยอง เดิมมีฐานะเป็นหัวเมืองจัตวา ตั้งอยู่บริเวณแหลมยาง เปลี่ยนฐานะเป็นอำเภอเมื่อปี พ.ศ. 2451

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

อำเภอแกลงตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้

ประวัติ[แก้]

อำเภอแกลงหรือสามย่านในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 อำเภอแกลงมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นจัตวาชื่อ เมืองแกลง ตั้งอยู่บริเวณแหลมยาง ปากน้ำกระแส (ประแสร์) อยู่ในความปกครองของมณฑลจันทบุรี เนื่องจากเป็นหัวเมืองสำคัญชายทะเลภาคตะวันออก มีกองทหารเรือตั้งประจำ ต่อมามีการย้ายกองทหารเรือไปตั้งที่อื่น ทางราชการจึงได้ย้ายตัวเมืองมาตั้งที่บ้านโพธิ์ทอง ตำบลทางเกวียน

ต่อมาประมาณ พ.ศ. 2451 เป็นสมัยที่มีการปรับปรุงระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน เมืองแกลงถูกลดฐานะมาเป็นอำเภอเรียกว่า อำเภอแกลง ขึ้นกับจังหวัดระยอง จนกระทั่งปี พ.ศ. 2453 ได้ย้ายสถานที่ตั้งอำเภอจากบ้านโพธิ์ทองเดิมมาตั้งที่บ้านสามย่าน ตำบลทางเกวียน ต่อมาในปี2541 ได้ย้ายที่ว่าการอำเภอแกลง มาตั้งอยู่ที่ บ้านอ่างตานนท์ ตำบลทางเกวียน เพื่อให้บริการประชาชนได้สะดวกสบาย มีพื้นที่กว้างขวาง ปัจจุบันอำเภอแกลงตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดระยอง ห่างจากที่ตั้งจังหวัดประมาณ 47 กิโลเมตร

  • วันที่ 22 สิงหาคม 2481 เปลี่ยนแปลงเขตตำบลในอำเภอแกลง (1,2,3)[1]
    • (1) โอนพื้นที่หมู่ 13,14,15 (ในขณะนั้น) ของตำบลทุ่งควายกิน ไปขึ้นกับตำบลปากน้ำกระแส
    • (2) โอนพื้นที่หมู่ 11 (ในขณะนั้น) ของตำบลคลองปูน ไปขึ้นกับตำบลปากน้ำกระแส
    • (3) โอนพื้นที่หมู่ 13,14,15 (ในขณะนั้น) ของตำบลวังหว้า ไปขึ้นกับตำบลทางเกวียน
  • วันที่ 10 มิถุนายน 2490 ตั้งตำบลในพื้นที่อำเภอแกลง (1,2,3,4,5)[2]
    • (1) แยกพื้นที่หมู่ที่ 8,9,10,11 ของตำบลทางเกวียน ตั้งเป็นตำบลวังหว้า
    • (2) แยกพื้นที่หมู่ที่ 4,7,8,9 ของตำบลกระแสบน ตั้งเป็นตำบลบ้านนา
    • (3) แยกพื้นที่หมู่ที่ 4,5,6,7,8 ของตำบลกองดิน ตั้งเป็นตำบลพังราด
    • (4) แยกพื้นที่หมู่ที่ 4,6,7,8,9 ของตำบลกร่ำ ตั้งเป็นตำบลชากพง
    • (5) แยกพื้นที่หมู่ที่ 5,6,7,8,9,10 ของตำบลคลองปูน ตั้งเป็นตำบลทุ่งควายกิน
  • วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2498 โอนพื้นที่หมู่ 6 บ้านไร่ (ในขณะนั้น) ของตำบลชากโดน ไปขึ้นและรวมกับพื้นที่หมู่ที่ 2 ของตำบลกร่ำ[3]
  • วันที่ 17 กันยายน 2498 จัดตั้งสุขาภิบาลทางเกวียน ในท้องที่บางส่วนของตำบลทางเกวียน[4]
  • วันที่ 1 ธันวาคม 2507 เปลี่ยนแปลงเขตสุขาภิบาลทางเกวียน เพื่อความเหมาะสมในการบริหารกิจการและการทะนุบำรุงท้องถิ่น[5]
  • วันที่ 24 กรกฎาคม 2516 ตั้งตำบลวังจันทร์ แยกออกจากตำบลกระแสบน และตั้งตำบลชุมแสง แยกออกจากตำบลกระแสบน[6]
  • วันที่ 22 พฤศจิกายน 2520 แยกพื้นที่ตำบลชุมแสง และตำบลวังจันทร์ อำเภอแกลง มาตั้งเป็น กิ่งอำเภอวังจันทร์ ขึ้นกับอำเภอแกลง[7]
  • วันที่ 24 มิถุนายน 2524 ยกฐานะสุขาภิบาลทางเกวียน เป็นเทศบาลตำบลทางเกวียน[8]
  • วันที่ 28 สิงหาคม 2522 ตั้งตำบลป่ายุบใน แยกออกจากตำบลชุมแสง[9]
  • วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2523 จัดตั้งสุขาภิบาลปากน้ำประแส ในท้องที่บางส่วนของตำบลปากน้ำกระแส[10] และจัดตั้งสุขาภิบาลทุ่งควายกิน ในท้องที่บางส่วนของตำบลทุ่งควายกิน บางส่วนของตำบลคลองปูน[11]
  • วันที่ 21 มิถุนายน 2526 ตั้งตำบลน้ำเป็น แยกออกจากตำบลทุ่งควายกิน[12]
  • วันที่ 28 สิงหาคม 2527 ตั้งตำบลชำฆ้อ แยกออกจากตำบลบ้านนา[13]
  • วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2528 จัดตั้งสุขาภิบาลสุนทรภู่ ในท้องที่บางส่วนของตำบลกร่ำ และตำบลชากพง[14]
  • วันที่ 26 กันยายน 2529 ตั้งตำบลห้วยยาง แยกออกจากตำบลเนินฆ้อ[15]
  • วันที่ 10 ตุลาคม 2529 ตั้งตำบลห้วยทับมอญ แยกออกจากตำบลน้ำเป็น[16]
  • วันที่ 11 มิถุนายน 2530 จัดตั้งสุขาภิบาลชุมแสง ในท้องที่บางส่วนของตำบลชุมแสง และตำบลวังจันทร์[17]
  • วันที่ 15 กันยายน 2532 ตั้งตำบลสองสลึง แยกออกจากตำบลชากโดน[18]
  • วันที่ 19 มิถุนายน 2534 ยกฐานะจากกิ่งอำเภอวังจันทร์ อำเภอแกลง เป็น อำเภอวังจันทร์[19]
  • วันที่ 1 กรกฎาคม 2534 ตั้งตำบลพลงตาเอี่ยม แยกออกจากตำบลวังจันทร์[20] และรับพื้นที่เขตสุขาภิบาลชุมแสงมาแทนที่ตำบลวังจันทร์
  • วันที่ 28 เมษายน 2535 ตั้งตำบลเขาน้อย แยกออกจากตำบลชำฆ้อ[21]
  • วันที่ 9 เมษายน 2536 จัดตั้งสุขาภิบาลกองดิน ในท้องที่บางส่วนของตำบลกองดิน[22]
  • วันที่ 8 มิถุนายน 2536 แยกพื้นที่ตำบลน้ำเป็น ตำบลห้วยทับมอญ ตำบลชำฆ้อ และตำบลเขาน้อย อำเภอแกลง มาตั้งเป็น กิ่งอำเภอเขาชะเมา ขึ้นกับอำเภอแกลง[23]
  • วันที่ 22 เมษายน 2541 เปลี่ยนแปลงชื่อเทศบาลตำบลทางเกวียน จังหวัดระยอง เป็น เทศบาลตำบลเมืองแกลง[24]
  • วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ยกฐานะจากสุขาภิบาลปากน้ำประแส สุขาภิบาลทุ่งควายกิน สุขาภิบาลสุนทรภู่ และสุขาภิบาลกองดิน เป็นเทศบาลตำบลปากน้ำประแส เทศบาลตำบลทุ่งควายกิน เทศบาลตำบลสุนทรภู่ และเทศบาลตำบลกองดิน ตามลำดับ
  • วันที่ 15 กันยายน 2547 ยุบองค์การบริหารส่วนตำบลกร่ำ และองค์การบริหารส่วนตำบลชากพง รวมกับเทศบาลตำบลสุนทรภู่ จังหวัดระยอง[25]
  • วันที่ 1 ตุลาคม 2547 ยุบองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำกระแส รวมกับองค์การบริหารส่วนตำบลคลองปูน จังหวัดระยอง[26]
  • วันที่ 8 กันยายน 2550 ยกฐานะจากกิ่งอำเภอเขาชะเมา อำเภอแกลง เป็น อำเภอเขาชะเมา[27]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]

อำเภอแกลงแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 15 ตำบล 147 หมู่บ้าน ได้แก่

1. ทางเกวียน (Thang Kwian) 10 หมู่บ้าน 9. ทุ่งควายกิน (Thung Khwai Kin) 13 หมู่บ้าน
2. วังหว้า (Wang Wa) 14 หมู่บ้าน 10. กองดิน (Kong Din) 11 หมู่บ้าน
3. ชากโดน (Chak Don) 8 หมู่บ้าน 11. คลองปูน (Khlong Pun) 9 หมู่บ้าน
4. เนินฆ้อ (Neun Kho) 9 หมู่บ้าน 12. พังราด (Phang Rat) 8 หมู่บ้าน
5. กร่ำ (Kram) 6 หมู่บ้าน 13. ปากน้ำกระแส (Pak Nam Krasae) 8 หมู่บ้าน
6. ชากพง (Chak Phong) 7 หมู่บ้าน 14. ห้วยยาง (Huai Yang) 9 หมู่บ้าน
7. กระแสบน (Krasae Bon) 14 หมู่บ้าน 15. สองสลึง (Song Salueng) 8 หมู่บ้าน
8. บ้านนา (Ban Na) 13 หมู่บ้านอำเภอแกลง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดระยอง เดิมมีฐานะเป็นหัวเมืองจัตวา ตั้งอยู่บริเวณแหลมยาง เปลี่ยนฐานะเป็นอำเภอเมื่อปี พ.ศ. 2451

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

อำเภอแกลงตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้

ประวัติ[แก้]

อำเภอแกลงหรือสามย่านในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 อำเภอแกลงมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นจัตวาชื่อ เมืองแกลง ตั้งอยู่บริเวณแหลมยาง ปากน้ำกระแส (ประแสร์) อยู่ในความปกครองของมณฑลจันทบุรี เนื่องจากเป็นหัวเมืองสำคัญชายทะเลภาคตะวันออก มีกองทหารเรือตั้งประจำ ต่อมามีการย้ายกองทหารเรือไปตั้งที่อื่น ทางราชการจึงได้ย้ายตัวเมืองมาตั้งที่บ้านโพธิ์ทอง ตำบลทางเกวียน

ต่อมาประมาณ พ.ศ. 2451 เป็นสมัยที่มีการปรับปรุงระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน เมืองแกลงถูกลดฐานะมาเป็นอำเภอเรียกว่า อำเภอแกลง ขึ้นกับจังหวัดระยอง จนกระทั่งปี พ.ศ. 2453 ได้ย้ายสถานที่ตั้งอำเภอจากบ้านโพธิ์ทองเดิมมาตั้งที่บ้านสามย่าน ตำบลทางเกวียน ต่อมาในปี2541 ได้ย้ายที่ว่าการอำเภอแกลง มาตั้งอยู่ที่ บ้านอ่างตานนท์ ตำบลทางเกวียน เพื่อให้บริการประชาชนได้สะดวกสบาย มีพื้นที่กว้างขวาง ปัจจุบันอำเภอแกลงตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดระยอง ห่างจากที่ตั้งจังหวัดประมาณ 47 กิโลเมตร

  • วันที่ 22 สิงหาคม 2481 เปลี่ยนแปลงเขตตำบลในอำเภอแกลง (1,2,3)[1]
    • (1) โอนพื้นที่หมู่ 13,14,15 (ในขณะนั้น) ของตำบลทุ่งควายกิน ไปขึ้นกับตำบลปากน้ำกระแส
    • (2) โอนพื้นที่หมู่ 11 (ในขณะนั้น) ของตำบลคลองปูน ไปขึ้นกับตำบลปากน้ำกระแส
    • (3) โอนพื้นที่หมู่ 13,14,15 (ในขณะนั้น) ของตำบลวังหว้า ไปขึ้นกับตำบลทางเกวียน
  • วันที่ 10 มิถุนายน 2490 ตั้งตำบลในพื้นที่อำเภอแกลง (1,2,3,4,5)[2]
    • (1) แยกพื้นที่หมู่ที่ 8,9,10,11 ของตำบลทางเกวียน ตั้งเป็นตำบลวังหว้า
    • (2) แยกพื้นที่หมู่ที่ 4,7,8,9 ของตำบลกระแสบน ตั้งเป็นตำบลบ้านนา
    • (3) แยกพื้นที่หมู่ที่ 4,5,6,7,8 ของตำบลกองดิน ตั้งเป็นตำบลพังราด
    • (4) แยกพื้นที่หมู่ที่ 4,6,7,8,9 ของตำบลกร่ำ ตั้งเป็นตำบลชากพง
    • (5) แยกพื้นที่หมู่ที่ 5,6,7,8,9,10 ของตำบลคลองปูน ตั้งเป็นตำบลทุ่งควายกิน
  • วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2498 โอนพื้นที่หมู่ 6 บ้านไร่ (ในขณะนั้น) ของตำบลชากโดน ไปขึ้นและรวมกับพื้นที่หมู่ที่ 2 ของตำบลกร่ำ[3]
  • วันที่ 17 กันยายน 2498 จัดตั้งสุขาภิบาลทางเกวียน ในท้องที่บางส่วนของตำบลทางเกวียน[4]
  • วันที่ 1 ธันวาคม 2507 เปลี่ยนแปลงเขตสุขาภิบาลทางเกวียน เพื่อความเหมาะสมในการบริหารกิจการและการทะนุบำรุงท้องถิ่น[5]
  • วันที่ 24 กรกฎาคม 2516 ตั้งตำบลวังจันทร์ แยกออกจากตำบลกระแสบน และตั้งตำบลชุมแสง แยกออกจากตำบลกระแสบน[6]
  • วันที่ 22 พฤศจิกายน 2520 แยกพื้นที่ตำบลชุมแสง และตำบลวังจันทร์ อำเภอแกลง มาตั้งเป็น กิ่งอำเภอวังจันทร์ ขึ้นกับอำเภอแกลง[7]
  • วันที่ 24 มิถุนายน 2524 ยกฐานะสุขาภิบาลทางเกวียน เป็นเทศบาลตำบลทางเกวียน[8]
  • วันที่ 28 สิงหาคม 2522 ตั้งตำบลป่ายุบใน แยกออกจากตำบลชุมแสง[9]
  • วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2523 จัดตั้งสุขาภิบาลปากน้ำประแส ในท้องที่บางส่วนของตำบลปากน้ำกระแส[10] และจัดตั้งสุขาภิบาลทุ่งควายกิน ในท้องที่บางส่วนของตำบลทุ่งควายกิน บางส่วนของตำบลคลองปูน[11]
  • วันที่ 21 มิถุนายน 2526 ตั้งตำบลน้ำเป็น แยกออกจากตำบลทุ่งควายกิน[12]
  • วันที่ 28 สิงหาคม 2527 ตั้งตำบลชำฆ้อ แยกออกจากตำบลบ้านนา[13]
  • วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2528 จัดตั้งสุขาภิบาลสุนทรภู่ ในท้องที่บางส่วนของตำบลกร่ำ และตำบลชากพง[14]
  • วันที่ 26 กันยายน 2529 ตั้งตำบลห้วยยาง แยกออกจากตำบลเนินฆ้อ[15]
  • วันที่ 10 ตุลาคม 2529 ตั้งตำบลห้วยทับมอญ แยกออกจากตำบลน้ำเป็น[16]
  • วันที่ 11 มิถุนายน 2530 จัดตั้งสุขาภิบาลชุมแสง ในท้องที่บางส่วนของตำบลชุมแสง และตำบลวังจันทร์[17]
  • วันที่ 15 กันยายน 2532 ตั้งตำบลสองสลึง แยกออกจากตำบลชากโดน[18]
  • วันที่ 19 มิถุนายน 2534 ยกฐานะจากกิ่งอำเภอวังจันทร์ อำเภอแกลง เป็น อำเภอวังจันทร์[19]
  • วันที่ 1 กรกฎาคม 2534 ตั้งตำบลพลงตาเอี่ยม แยกออกจากตำบลวังจันทร์[20] และรับพื้นที่เขตสุขาภิบาลชุมแสงมาแทนที่ตำบลวังจันทร์
  • วันที่ 28 เมษายน 2535 ตั้งตำบลเขาน้อย แยกออกจากตำบลชำฆ้อ[21]
  • วันที่ 9 เมษายน 2536 จัดตั้งสุขาภิบาลกองดิน ในท้องที่บางส่วนของตำบลกองดิน[22]
  • วันที่ 8 มิถุนายน 2536 แยกพื้นที่ตำบลน้ำเป็น ตำบลห้วยทับมอญ ตำบลชำฆ้อ และตำบลเขาน้อย อำเภอแกลง มาตั้งเป็น กิ่งอำเภอเขาชะเมา ขึ้นกับอำเภอแกลง[23]
  • วันที่ 22 เมษายน 2541 เปลี่ยนแปลงชื่อเทศบาลตำบลทางเกวียน จังหวัดระยอง เป็น เทศบาลตำบลเมืองแกลง[24]
  • วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ยกฐานะจากสุขาภิบาลปากน้ำประแส สุขาภิบาลทุ่งควายกิน สุขาภิบาลสุนทรภู่ และสุขาภิบาลกองดิน เป็นเทศบาลตำบลปากน้ำประแส เทศบาลตำบลทุ่งควายกิน เทศบาลตำบลสุนทรภู่ และเทศบาลตำบลกองดิน ตามลำดับ
  • วันที่ 15 กันยายน 2547 ยุบองค์การบริหารส่วนตำบลกร่ำ และองค์การบริหารส่วนตำบลชากพง รวมกับเทศบาลตำบลสุนทรภู่ จังหวัดระยอง[25]
  • วันที่ 1 ตุลาคม 2547 ยุบองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำกระแส รวมกับองค์การบริหารส่วนตำบลคลองปูน จังหวัดระยอง[26]
  • วันที่ 8 กันยายน 2550 ยกฐานะจากกิ่งอำเภอเขาชะเมา อำเภอแกลง เป็น อำเภอเขาชะเมา[27]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]

อำเภอแกลงแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 15 ตำบล 147 หมู่บ้าน ได้แก่

1. ทางเกวียน (Thang Kwian) 10 หมู่บ้าน 9. ทุ่งควายกิน (Thung Khwai Kin) 13 หมู่บ้าน
2. วังหว้า (Wang Wa) 14 หมู่บ้าน 10. กองดิน (Kong Din) 11 หมู่บ้าน
3. ชากโดน (Chak Don) 8 หมู่บ้าน 11. คลองปูน (Khlong Pun) 9 หมู่บ้าน
4. เนินฆ้อ (Neun Kho) 9 หมู่บ้าน 12. พังราด (Phang Rat) 8 หมู่บ้าน
5. กร่ำ (Kram) 6 หมู่บ้าน 13. ปากน้ำกระแส (Pak Nam Krasae) 8 หมู่บ้าน
6. ชากพง (Chak Phong) 7 หมู่บ้าน 14. ห้วยยาง (Huai Yang) 9 หมู่บ้าน
7. กระแสบน (Krasae Bon) 14 หมู่บ้าน 15. สองสลึง (Song Salueng) 8 หมู่บ้าน
8. บ้านนา (Ban Na) 13 หมู่บ้าน
Call Now Button